ตู้ไฟฟ้ามีกี่ลักษณะ

ตู้ไฟฟ้ามีกี่ลักษณะ (Classification of assemblies)

สั่งผลิตตู้ไฟกับเรา..คลิ๊ก!!

ตู้ไฟฟ้าจำแนกตามลักษณะต่างๆได้ดังนี้

1. แบบภายนอก (External design)

ตู้ไฟฟฟ้าประเถท01

2. สถานที่ติดตั้ง (The place of installation)

- ตู้ไฟฟ้าสำหรับติดตั้งภายในอาคาร  

ตู้ไฟฟฟ้าประเถทใช้ภายในอาคาร

ตู้ไฟฟ้าสำหรับติดตั้งภายนอกอาคาร  

ตู้ไฟฟฟ้าประเถทใช้ภายในอาคาร

3. ภาวะการติดตั้ง ในแง่การเคลื่อนที่ (The conditions of installation with respect to mobility)
- ตู้ไฟประจำที่ (stationary ASSEMBLY)
- ตู้ไฟแบบตั้งพื้น (floor standing ASSEMBLY)
- ตู้ไฟแบบแขวนผนัง (wall mounting ASSEMBLY)
- ตู้ไฟเคลื่อนที่ (movable ASSEMBLY)

นอกจากนี้ยังมีค่ามาตรฐานต่างๆ ที่ควรพิจารณา  โดยพิจารณาความเหมาะสมจากแบบวงจร , สถานที่ตั้งเพื่อใช้งานของตัวตู้ไฟฟ้า
(โดยคำนึงถึงสภาวะแวดล้อมของสถานที่ตั้งนั้นเป็นหลัก) ซึ่งมาตรฐานหลักๆที่ควรคำนึงถึงนั้นได้แก่ มาตรฐาน มอก.
, มาตรฐาน DIN , มาตรฐาน IEC  

หลักการเบื่องต้นในการเลือกตู้ไฟฟ้าเพื่อมาใช้งาสนนั้นควรคำนึงถึงข้อต่อไปนี้
  1.ภาวะอากาศและความกัดกร่อนที่ต้องเผชิญ เช่น สถานที่ติดตั้งตู้ไฟฟ้านั้นอยู่ใกล้กับพื้นที่มีมลภาวะสูง เช่นโรงงานปูนซีเมนต์  หรืออยู่ใกล้ทะเล ควรจะต้องพิจารณาถึงการป้องกันการกัดกร่อน เช่นมีการชุบ 
Hot-Dip Galvanized การชุบสังกะสีแบบจุ่มร้อน หรือ  ที่นิยมเรียกกันว่า ฮอทดิพ (Hot-Dip Galvanized)  เป็นการป้องกันผิวของเหล็กไม่ให้เกิดออกไซด์ขึ้น  หรือสนิม  กับความชื้น  ในอากาศ  ส่งผลให้อายุการใช้งานของเหล็กนานขึ้น  เหมาะกับงานที่ต้องสัมผัสกับความชื้น  หรือการกัดกัดกร่อนของอากาศ
  2.พิจารณาจากสถานที่ตั้งตู้ไฟฟ้านั้นๆว่าอยู่ภายนอกตัวอาคาร หรือภายในตัวอาคาร เพื่อพิจารณาค่าการป้องกัยของแข็งและค่าการป้องกันของเหลว ตามมาตรฐานของ IEC และ ม.อ.ก. ซึ่งมีการกำหนดลงเป็นค่า IP ไว้หลายระดับเพื่อให้เหมาะสมกับการใช้งาน


ทั้งนี้ค่ามาตรฐานอันหนึ่งที่ควรพิจารณาคือ ค่า
IP  ซึ่งเป็นการแบ่งระดับการป้องกัน IP (Ingress Protection) Code เป็นไปตามมาตรฐาน DIN 40050/1980 และ IEC 529  โดยระบุการอ่านค่าเป็นตัวเลขสองตัวประกอบกัน  ตัวเลขข้างหน้า
บอกถึงลักษณะการป้องกันฝุ่น  ส่วนตัวเลขด้านหลังบอกถึงลักษณะการป้องกันของเหลว

ตัวอย่างการอ่านค่าIP  ได้แก่   ค่า
IP35 (ตู้ไฟฟ้านี้จะสามารถป้องกันของแข็งที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางมากกว่าหรือเท่ากับ   12 มม. เข้าไปได้  (*3) และ สามารถป้องกันการฉีดน้ำจากทุกทิศทุกทาง (*5)) [*อ้างอิงจากตารางประกอบตามด้านล่างนี้]      หรือ
ค่า
IP55  (ตู้ไฟฟ้านี้จะสามารถป้องกันฝุ่นได้ (*5) และ สามารถป้องกันการฉีดน้ำจากทุกทิศทุกทาง (*5)) [*อ้างอิงจากตารางประกอบตามด้านล่างนี้]

 

 

 

รหัสตัวที่  1

 

บอกถึงลักษณะการป้องกันฝุ่นอันอาจจะเกิดอันตรายแก่อุปกรณ์ที่บรรจุภายใน

 

 

รหัสตัวที่   2

 

บอกถึงลักษณะการป้องกันของเหลวอันอาจจะเกิดอันตรายแก่อุปกรณ์ที่บรรจุภายใน

 

1

 

ไม่มีการป้องกัน No Protection

 

 

1

 

ไม่มีการป้องกัน No Protection

 

 

 2

 

สามารถป้องกันของแข็งทีมีเส้นผ่านศูนย์กลางมากกว่าหรือเท่ากับ   50มม.เข้าไปได้

Large foreign bodies, diameter greater or equal to   50 mm.

 

 

 2

 

สามารถป้องกันน้ำที่ตกลงมาจากด้านบนได้

Vertically falling droops of water

 

 

 3

 

สามารถป้องกันของแข็งที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางมากกว่าหรือเท่ากับ   12มม. เข้าไปได้

Medium-size foreign bodies, diameter greater or   equal to 12 mm.

 

 

  3

 

สามารถป้องกันน้ำที่ตกลงมาจากด้านบนและด้านข้างที่ทำมุมกับแนวดิ่งไม่เกิน   15 องศาได้

Obliquely falling drops of water up to 15 towards   vertical

 

 

 4

 

สามารถป้องกันของแข็งที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางมากกว่าหรือเท่ากับ   1มม. เข้าไปได้

Grain-shaped foreign bodies, diameter greater or   equal to 1 mm

 

 

  4

 

สามารถป้องกันหยดน้ำหรือน้ำที่สาดมาจากทุกทิศทุกทาง

Splash water from all sides

 

 5

 

สามารถป้องกันฝุ่นได้

Dust Deposit

 

 

 5

 

สามารถป้องกันการฉีดน้ำจากทุกทิศทุกทาง

Jets of water

 

 

 

6­­

 

 

สามารถป้องกันฝุ่นได้อย่างสมบูรณ์แบบ

Ingress of Dust

 

 

 6­­

 

สามารถป้องกันคลื่นน้ำทะเลและการฉีดน้ำอย่างแรง

Power jets of water

 

 

 7

 

สามารถป้องกันอันตรายจากน้ำท่วมชั่วคราวได้

Partial    immersion

 

 

 8

 

สามารถป้องกันอันตรายจากน้ำท่วมได้อย่างถาวร

Immersion

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

: IEC:60439, มอก.1436-2540 (2.3,2.5.1,2.5.2,2.5.3,2.5.4)

ส่วนตู้ไฟฟ้าขนาดใหญ่ เราจะเรียกว่า Main Distribution Board  โดยจะมีองค์ประกอบหลักๆดังนี้

1.Enclosure (ตัวตู้ด้านนอก)
2.
Status Lamps (หลอดไฟแสดงสถานะหน้าตู้ควบคุม)
3.
Voltmeter , Power Meter , Ammeter
4.Timer , Phase Protection , Fuse , Surge Protection , Magnetic
5.Power Factor Controller

6.
Capacitor Bank
7.Bus Bar
8.Mold Case Circuit Breaker [MCCB]
9.
 Circuit เช่น Star Delta

เรียนรู้เพิ่มเติมจากภาพประกอบ  คลิ๊กที่รูป!!

 

ภาพประกอบเพื่อการเรียนรู้เพิ่มเติม

 

  

QR Line@